การป้องกันภัยทางอากาศสำหรับกองเรือบรรทุกเครื่องบินของกองทัพเรือสหรัฐนั้น ถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมาก เรือบรรทุกเครื่องบินถือว่าเป็นยุทโธปกรณ์ที่สำคัญที่สุดในกองเรือ ดังนั้นความปลอดภัยจองเรือบรรทุกเครื่องบินจึงถือว่าเป็นความสำคัญที่จะแผ่ขยายอำนาจทางทะเลของกองทัพเรือสหรัฐให้ไปที่ใดก็ได้ในโลกที่ทะเลเข้าถึง ภัยคุกคามจากทั้ง เรือดำน้ำ จรวจต่อต้านเรือ และเครื่องบินโจมตีของข้าศึกจึงถือว่าเป็นภัยคุกคามอย่างสูงต่อกองเรือ โดนในกรณีนี้ผมจะขอพูดถึงขั้นตอนและมาตรการการป้องกันทางอากาศของกองเรือ จากทั้งเครื่องบินจากเรือบรรทุกเครื่องบินเอง รวมถึงเรือลาดตระเวณติดอาวุธนำวิธีที่แล่นเคียงข้างเรือบรรทุกเครื่องบินตลอดเวลา
Actions required to destroy or reduce the enemy air and missile threat to an acceptable level ( เป็นภารกิจเพื่อการทำลายหรือลดทอนกองกำลังทางอากาศรวมถึงอาวุธนำวิธีแบบ ต่างๆที่มีขีดความสามารถในการโจมตีกองเรือได้อย่างมีประสิทธิภาพในระดับ หนึ่ง) โดยสามารถแบ่งแยกออกได้เป็น 2 มาตรการ
– - Offensive Measures ( ป้องกันเชิงรุก )
– - Defensive Measures ( ป้องกันเชิงรับ )
Offensive Measures
•-Air Warfare: Strikes against shipping, air bases, missile sites
( กำลังทางอากาศ : โจมตีกองเรือ สนามบิน และ ฐานจรวจของข้าศึก )
Defencesive Measure
-Protect or Defend against offensive threat ( คุ้มครองและป้องกันจากการโจมตีโดยกองกำลังของข้าศึก )
•
-Defense - in - Depth ( การป้องกันในระดับต่างๆ สามารถแบ่งย่อยออกได้ 3 แบบ )
– -Surveillance Area ( พื้นที่ตรวจการ )
– -Destruction Area ( ระยะเข้าต่อตี )
– -Vital Area ( ระยะที่สามารถมองเห็นได้ด้วยสายตา )
-Defense in Depth
Surveillance Area ( การตรวจการณ์นี้จะใช้ทั้งเรดาห์ทั้งบนเรือและอากาศยานโดยเฉพาะเรือที่ติด ตั้งเรดาห์แบบ Spy-1 และ เครื่องบิน Aew แบบ E-2C-D Advance hawkeyes แต่มาตรการในการตรวจจับต่างๆนั้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ยกตัวอย่างเช่นปิดเรดาห์ของกองเรือเพื่อลดการตรวจจับจากคลื่นเรดาห์และให้ เครื่องบิน E-2 นั้นบินรอบๆกองเรือแล้วเปิดเรดาห์อย่างเดียว เพื่อลดการตรวจจับจากกำลังของข้าศึกต่อตำบลที่อยู่ของกองเรืออีกทั้งยังเป็นการลความเสี่ยงในการปฏิบัติงานอีกด้วย )
– -HVU to max detection range
– -Depends on aircraft, ship sensors
– -Aegis SPY radar vs E-2C
– -Always changing
-Classification, Identification, and Engagement Area (CIEA)
– -AW weapons can be employed
– -Depends on assets weapon capabilities
– -FEZ, MEZ, CEZ, JEZ
-CIEA Area ( ด่าน ห้องกันอันดับแรกสำหรับกองเรือโดยเครื่องบินจากเรือบรรทุกเครื่องบินจะบิน ขึ้นสกัดกั้นผู้บุกรุกจากระยะห่างจากกองเรือหลายร้อยกิโลเมตร )
-Fighter Engagement Zone (FEZ)
– -Engage enemy with organic aircraft
– -Defensive Counter Air (DCA) - CAP
• -F-14 D super tomcat ( already decommission )
• -F/A-18 C/D Hornet or F/A-18 E/F super hornet
– -Ships must have comms with A/C before engaging “Scram/Bittersweet”
-CIEA Area (พื้นที่ที่สามารถใช้อาวุธนำ วิธีจากเรือในกองเรือเข้าโจมตีได้ดดยเรือชั้นแรกจะเป็น เรือลาดตระเวณและเรือพิฆาตติดขีปนาวุธ ชั้นต่อมาเป็นเรือฟริเกต และชั้นสุดท้ายของ CIEW นั้นคือเรือบรรทุกเครื่องบินเอง)
-Missile Engagement Zone (MEZ)
– -Engage with Surface to Air Missiles
• -CG, DDG
– -SM2 ER
• -FFG
– -SM2 ER
• -DD, CVN
– -Sea Sparrow
– -Fighters should not enter MEZ “Bittersweet”
•
-Close-in Engagement Area
-CIEA
– -Engage enemy with Guns, CIWS, Sea Sparrow ,Super RBOC,Ram
– -BRACE FOR IMPACT! ( อันนี้คงไม่มัใครอยากให้เกิดขึ้นนะครับ )
-More on CIEA ( เรื่องนี้เกี่ยวกับขั้นตอนต่างๆในการตรวจจับเป้าหมาย เช่น ระยะ ทิศทาง ความสูง ขนาดกำลังของข้าศึก แล้วจึงเลือกอาวุธเพื่อเข้าโจมตีเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด )
-Joint Engagement Zone
– -Overlap of FEZ, MEZ, CEZ
– -AW must determine best Weapon
• -F/A-18 vs SM2 ER from CG?
• -Vector Geometry
• -Range
• -Must have positive control of A/C
ในเวลาไม่กี่ปีข้างหน้าเครื่องแบบ E-2D Advance Hawkeye จะเข้าประจำการแทนรุ่น C โดยกองทัพเรือสหรัฐยังวางใจให้เครื่องบินแบบนี้ เป็นเครื่องเตือนภัยให้แก่กองเรือล่วงหน้าไปอีกหลายสิบปี เครื่อง Aew ถือได้ว่าเป็นเครื่องบินที่สำคัญมากที่สุดชนิดหนึ่งบนเรือบรรทุกเครื่องบิน ซึ่งหลายๆชาติได้นำเข้าประจำการแล้วโดยฌฉพาะกลุ่มประเทศ Nato
-AirborneEarlyWarningAircraft
-E2C Hawkeye
– -Long Range Air Search Radar
– -Link 11/Link 16
– -ES
– -4 Hour on-station time
– -Air control capability
-Surveillance and Detection
-Shipboard Sensors
• -SPY1 (A, B, D)
• -SPS-48 (3D)
• -SPS-49 (2D)
– -ES/EA
• -SLQ-32
– -I&W
• -SSES
• -OUTBOARD
– -DATA LINK
• -Link 11
• -Link 16 (CVN, CG, DDG)
-Aircraft onboard sensors
-RADCAP
– -F-14/F-18 RADAR Picket
• -PIRAZ (FADIZ) / SSS
– -NTDS missile shooter
– -“Links” tracks to “Silent SAM”
– -MRR’s/RTF profiles
– -FADIZ checks A/C IFF leaving/returning
-AIR WARFARE Phases ( มาตรการการป้องกันทางอากาศ )
-Raid Engagement ( การตอบโต้โดยเชค IFF และส่งเครื่องบินขึ้นเพื่อตอบโต้ )
3.Track
- Determine and Predict Position
4.Identification
- Correlation
– -Other Sensors/ships
– -VID
– -IFF
– -Flight Profile
– -ES
– -NCTR
5.Threat Evaluation
– -Does the Air Contact Pose a threat? Hostile Intent?
– -ROE
– -Warning/Weapons Status
– -Threat Priority
6. Weapons Pairing
- Optimum weapon for threat
7. Engagement
- Employ weapons
8. Engagement Assessment
– -DCA if available
– -SOFT KILL - EA
• -SLQ 32
– -SAM
• -SM2/SM1/Sea Sparrow
– -GUNS/CIWS/CHAFF
Conclution
กองทัพเรือสหรัฐได้วางแผนแบบการป้องภัยทางอากาศอย่างคร่าวๆและยังใช้กันอยู่จนถึงปัจจุบันรวมทั้งกองทัพเรือในอีกหลายๆประเทศก็ได้ใช้แบบแผนข้างต้นนี้ เป็นแผนแบบในการป้องกันภัยทางอากาศแก่กองเรือของแต่ละชาติ โดยสรุปง่ายๆคือด่านแรกจะมีเครื่องบิน เตือนภัยล่วงหน้าบินวนรอบๆหองเรือเพื่อตรวจจับภัยคุกคามอื่นๆนอกจากระยะเรดา ห์ของเรือ เมื่อพบเครื่องบินที่ไม่ปรากฏสัญชาติขึ้น จะมีการเตือนต่อนายเวรเฝ้าระวังภัยทางอากาศของกองเรือ ซึ่งโดยมากจะอยู่บนเรือพิหาตหรือเรือลาดตระเวณที่มีหน้ามีในการป้องกันภัย ทางอากาศและเรือลำนี้ก็จะส่งข้อมูลและผสานการทำงานให้แก่เรือทุกลำในกองเรือ เมื่อถึงระยะหนึ่งแล้วผู้ยังคับกองเรือจะตัดสินใจว่าจะส่งเครื่องบินขึ้น เพื่อสกัดกั้นดีหรือไม่( โดยมากแล้วจะมีการส่งเครื่องบินอย่างน้อย 1 เครื่องที่ Stand by บนแท่นปล่อยบนเรือบรรทุกเครื่องบินขึ้นก่อนเป็นอันดับแรก ) และเมื่อเข้าสู่ระยะยิงของอาวุนำวิธีแล้วเครื่องบินที่เข้ามานั้นมีท่าที ที่เป็นภัยต่อกองเรือ อาจจะมีการตัดสินใจให้มีการยิงอาวุธจากเรือเข้าใส่เป้าหมายหรือจะส่งเครื่อง บินขึ้นเพื่อเข้าสกัดกั้น แต่ถ้าเกิดก่อนที่จะมีการสกัดกั้นเครื่องบินลำดังหล่าวนั้น เครื่องบินเกิดยิงขีปนาวุต่อต้านเรือผิวน้ำเข้ามา ด่านป้องกันแรกจะอยู่ที่เรือป้องกันภัยทางอากาศ จะทำการยิงอาวุธนำวิธีเพื่อสกัดกั้นจรวจ แต่ถ้าจรวจยังไม่ถูกทำลายก็ถึงด้านป้องกันที่สองซึ่งอยู่ที่เรือฟริเกตซึ่ง จะแล่นใกล้เรือบรรทุกเครื่องบินมากที่สุดยิงออกไปอีก แต่ถึงอย่างไรก็ตามหากอาวุธนำวิธียังไม่ถูกทำลายด่านป้องกันสุดท้ายจะมาจาก เรือแต่ละลำเองโดยระบบ CIWS หรือระบบป้องกันตนเองในระยะประชิดจะทำการเลือกระบบอาวุธที่เหมาะสมเข้าต่อตี เป้าหมายเช่น Ram เป็นต้นแล้วจึงเป็นปืนเช่น Phalanx หรือ goalkeeper หากไม่สามารถทำลายจรวจได้ก็ถึงเวลารับแรงกระแทกจากการระเบิดของขีปนาวุธได้ เลยครับ
ผมหวังว่าบทความนี้จะเป็นบทความที่หลายๆคนสามารถอ่านแล้วเข้าใจง่ายว่าระบบ การป้องกันภัยของกองเรือรบนั้นเขาปฏิบัติแล้วทำกันอย่างไรครับ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น